ความเชื่อไทยโบราณ ชายผ้าถุงแม่ เป็นเครื่องรางชั้นดี

เรื่องราวของชายผ้าถุง เป็นคติความเชื่อของไทย

มาตั้งแต่สมัยโบราณ จวบจนถึงในปัจจุบัน

หากใครเคยสอบถามกับทหารเก่า ที่เคย

ผ่านศึกสงครามมาอย่างโชกโชน ก็มักจะได้คำตอบ

ที่คล้ายคลึงกัน ว่าที่รอดชีวิตกลับมา

จากสงครามได้นั้น เพราะว่าพระที่ห้อยคอคุ้มครอง

หรือเรามีชายผ้าถุงของแม่เท่านั้นที่พกติดตัว

ซึ่งนี่เป็นความเชื่อส่วนบุคคล

โปรดวิจารณญาณในการ อ่ า น

ครั้งสมัยยังเด็กอยู่ เมื่อ เ รื่ อ ง ราวเหล่านี้ได้ถูกถ่ายทอดมายังรุ่นแล้วรุ่นเล่า

สิ่งเหล่านี้ก็เลยกลายเป็นความเชื่อความศรัทธาของลูก ผู้มีความรักและกตัญญู

ต่อมารดาของตน แม่ คือ พระอรหันต์องค์แรกของลูกโดยมีความศักดิ์สิทธิ์อยู่แล้ว

และไม่ต้องผ่านพิธีพุทธาพิเสกใดทั้งสิ้น

ยกตัวอย่างที่เกี่ยวกับการหาที่พึ่งของจิตใจเมื่อถึง ย า ม วิกฤตชีวิต

คือมีทหารนายหนึ่งอยู่ในสมรภูมิรบอะไรประมาณนี้แหละ

ด้วยเหตุที่เขากลัวข้าศึกมากจนหาที่พึ่งไม่ได้ นึกอะไรก็ไม่ออก

ว่าจะทำอย่างไรดี ด้วยความกลัวอันสุดขีดลองนึกภาพตามว่า

ทหารนายนั้นก็ได้คว้าเอาอะไร บางอย่างโดยที่เขานึกว่าเป็นของดี

โดยที่เขาไม่รู้เลยว่าสิ่งนั้นคือ  ” เขียด ”

โดยที่เข้าใจว่าเป็นของดีแล้วยัดใส่ปากของตัวเองโดยปกติแล้ว

เขียดเมื่อมันยังไม่ ต า ย  มันก็ดิ้นอยู่ในปากของทหารคนนั้น

ก็เลยเข้าใจว่าของดีที่ตัวเองอมอยู่นั้นกำลังแสดง  ” อิ ท ธิ ฤ ท ธิ์ “

ก็เลยมีกำลังใจหึดสู้กับข้าศึกขึ้นมาอย่างไม่กลัว ต า ย สุดท้ายข้าศึกก็เผ่นหนีไป

พอนึกได้ก็เลยคลายของดีที่ตนเองอมอยู่ออกมาดู ผลปรากฏว่า เป็นเขียด

แ ค่ ตัวเล็กนี่เอง เห็นไหมล่ะครับว่าความเชื่อนี้เป็นคุณสมบัติขั้นพื้นฐานเลยก็ว่าได้

ถ้าคนเรา ข า ด ความเชื่อและความศรัทธาแล้ว จะทำอะไรก็ไม่มีทางสำเร็จได้

ขอขอบคุณแหล่งข้อมูล : www.bobbaank.com

เรียบเรียงโดย : จิปาถะ