สสจ.พิจิตร รับสมัครพนักงานกระทรวงสาธารณสุขทั่วไป 93 อัตรา
ตั้งแต่วันที่ 7-11 พฤษภาคม 2561 รายละเอียด
ประกาศรับสมัครบุคคลเพื่อสรรหาและเลือกสรรเป็นพนักงานกระทรวงสาธารณสุขทั่วไป
1. พยาบาลวิชาชีพ 21 อัตรา เงินเดือน 15,960 บาท
2. นักเทคนิคการแพทย์ 2 อัตรา เงินเดือน 15,960 บาท
3. นักวิชาการสาธารณสุข 11 อัตรา เงินเดือน 15,960 บาท
4. เจ้าพนักงานเภสัชกรรม 3 อัตรา เงินเดือน 12,240 บาท
5. เจ้าพนักงานทันตสาธารณสุข 1 อัตรา เงินเดือน 12,240 บาท
6. เจ้าพนักงานสาธารณสุข 2 อัตรา เงินเดือน 12,240 บาท
7. เจ้าพนักงานสาธารณสุข เวชกิจ 1 อัตรา เงินเดือน 12,240 บาท
8. ผู้ช่วยทันตแพทย์ 1 อัตรา เงินเดือน 8,300 บาท
9. พนักงานช่วยการพยาบาล 1 อัตรา เงินเดือน 7,590 บาท
10. พนักงานช่วยเหลือคนไข้ 20 อัตรา เงินเดือน 7,590 บาท
11. พนักงานประจำห้องทดลอง 1 อัตรา เงินเดือน 7,590 บาท
12. พนักงานเปล 2 อัตรา เงินเดือน 7,590 บาท
13. นักวิชาการเงินและบัญชี 1 อัตรา เงินเดือน 13,300 บาท
14. นักวิชาการคอมพิวเตอร์ 1 อัตรา เงินเดือน 15,960 บาท
15.เจ้าพนักงานธุรการ 3 อัตรา เงินเดือน 10,200 บาท
16. เจ้าพนักงานพัสดุ 2 อัตรา เงินเดือน 10,200 บาท
17. เจ้าพนักงานการเงินและบัญชี 1 อัตรา เงินเดือน 10,200 บาท
18. พนักงานธุรการ 2 อัตรา เงินเดือน 8,300 บาท
19. พนักงานบริการ 15 อัตรา เงินเดือน 7,590 บาท
20. พนักงานประจำตึก 1 อัตรา เงินเดือน 7,590 บาท
21. พนักงานรับโทรศัพท์ 1 อัตรา เงินเดือน 7,590 บาท
(อ่านรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ประกาศรับสมัคร)
ประวัติสาธารณสุขไทยกรมพยาบาลสถาบันแรกซึ่งถือเป็นต้นกำเนิดของกระทรวงสาธารณสุขในปัจจุบัน ได้แก่ กรมพยาบาล สถาปนาขึ้นในรัชกาลที่ ๕ เมื่อวันที่ ๒๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๔๓๑ ดังกล่าวมาแล้ว โดยมีพระเจ้าน้องยาเธอ พระองค์เจ้าศรีเสาวภางค์ ดำรงตำแหน่งอธิบดีคนแรก สันนิษฐานกันว่ากรมพยาบาลในปีแรกคงจะขึ้นตรงต่อองค์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ในปีต่อมาหลังจากที่พระองค์เจ้าศรีเสาวภางค์ทรงประชวรสิ้นพระชนม์ กรมพยาบาลได้ย้ายไปขึ้นอยู่กับกระทรวงธรรมการ
ระหว่างที่กรมพยาบาลอยู่ในสังกัดกระทรวงธรรมการได้มีกิจการที่
ระหว่างที่กรมพยาบาลอยู่ในสังกัดกระทรวงธรรมการได้มีกิจการที่สำคัญคือ การจัดตั้งโรงเรียนผดุงครรภ์ขึ้นเมื่อ พ.ศ. ๒๔๓๙ โดยพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์ของสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ จัดตั้งหน่วยผลิตหนองฝีใช้เองในปี พ.ศ. ๒๔๔๘ ซึ่งต่อมาได้ย้ายไปรวมอยู่ในสถานเสาวภาเมื่อปี พ.ศ. ๒๔๖๔ นอกจากนี้ได้จัดให้มีการผลิตยาตำราหลวง และตั้งโอสถศาลาขึ้นเพื่อเป็นที่สะสมยาและเวชภัณฑ์ เพื่อใช้ในสถานพยาบาลและองค์การต่างๆ ของรัฐบาล กับให้ตั้งกองแพทย์ขึ้น
เพื่อให้มีหน้าที่ออกไปดำเนินการป้องกันโรคติดต่อแก่ประชาชนในชนบท และจัดให้มีแพทย์ประจำเมือง ซึ่งต่อไปได้พัฒนามาเป็นแพทย์สาธารณสุขจังหวัดในปัจจุบัน
กรมพยาบาลดำรงฐานะเป็นกรมอยู่จนถึง พ.ศ.๒๔๔๘ จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ยุบเลิกกรมพยาบาล โดยให้โรงพยาบาลในสังกัดกรมนี้ไปขึ้นอยู่กับกระทรวงนครบาล เว้นแต่ศิริราชพยาบาลคงให้เป็นสาขาของโรงเรียนราชแพทยาลัย และย้ายสังกัดไปขึ้นอยู่กับกรมศึกษาธิการ โดยตั้งเป็นแผนกพยาบาลขึ้นในกรมศึกษาธิการ ส่วนกองทำพันธุ์หนองฝี กองโอสถศาลารัฐบาล กองแพทย์ป้องกันโรค และแพทย์ประจำเมืองยังคงอยู่ในสังกัดกระทรวงธรรมการดังเดิม
ต่อมาในปี พ.ศ. ๒๔๕๑ กระทรวงมหาดไทยซึ่งมีหน้าที่เกี่ยวกับการปกครองหัวเมือง เพื่อบำบัดทุกข์บำรุงสุขแก่ประชาชนในชนบท ได้ขอโอนกองโอสถศาลารัฐบาล กองทำพันธุ์หนองฝี กอง
แพทย์และแพทย์ประจำเมืองจากกระทรวงธรรมการมาอยู่ในสังกัดกระทรวงมหาดไทย โดยให้ขึ้นอยู่กับกรมพลำภัง และในปีเดียวกันได้มีตราพระราชบัญญัติจัดการสุขาภิบาล และประกาศตั้งสุขาภิบาลขึ้นหลายแห่ง เช่น ที่จังหวัดนครราชสีมา จันทบุรี นครศรีธรรมราช ชลบุรี นครปฐมภายหลังจากที่ได้ทดลองให้มีสุขาภิบาลเป็นแห่งแรกที่ตำบลท่าฉลอม จังหวัดสมุทรสาคร ในปี พ.ศ. ๒๔๔๘ การควบคุมดูแลการสุขาภิบาลในชนบทนี้อยู่ในหน้าที่ของกรมพลำภังเช่นเดียวกัน
ต่อมาในปี พ.ศ. ๒๔๕๕ กระทรวงมหาดไทยมีโครงการขยายงานทางการสาธารณสุขอย่างกว้างขวางจึงขอพระบรมราชานุญาตตั้งกรมพยาบาลขึ้นใหม่ ในสังกัดกระทรวงมหาดไทย เพื่อรวมงานเกี่ยวกับการสาธารณสุข ซึ่งอยู่ในสังกัดกรมพลำภังเข้าด้วยกัน โดยแบ่งการบริหารงานของกรมพยาบาลออกเป็น ๖ แผนก คือ
งานที่ก้าวหน้าขึ้นในยุคนี้ ได้แก่ การจัดให้มีแพทย์ประจำทุกจังหวัด และจัดสร้างสถานีอนามัยในชนบท ซึ่งเดิมเรียกว่า “โอสถสภา” ต่อมาเปลี่ยนเป็น “สุขศาลา” และในปัจจุบันเรียกว่า “สถานีอนามัย” นอกจากนี้ ได้ขยายการปลูกฝีป้องกันไข้ทรพิษไปทั่วทุกจังหวัดและควบคุมการใช้ยาเสพติดให้โทษ
และกรมหมอหลวงคัดเลือกจดเป็นตำราหลวง สำหรับโรงพระโอสถ เพื่อประโยชน์ของประชาชน พ.ศ. 2359 มีพระราชโองการโปรดเกล้าให้ตรากฎหมาย ชื่อ กฎหมายพนักงานพระโอสถถวาย ซึ่งให้อำนาจพนักงานมีอำนาจออกไปค้นหาพระโอสถ คือ สมุนไพร ที่ปรากฎมีอยู่ในแผ่นดิน ผู้ใดจะคัดค้านมิได้ พนักงานพระโอสถจึงมีอำนาจในการค้นหายา และมักจะเป็นผู้ที่อยู่ในตระกูลสืบทอดกันมา
เท่านั้น พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้ทรงบูรณะปฏิสังขรณ์วัดราชโอรสาราม และได้จารึกตำราไว้ในแผ่นศิลา ตามเสาระเบียงพระวิหาร รวมทั้งทรงปฏิสังขรณ์วัดพระเชตุพนฯ อีกครั้ง โปรดเกล้าฯ ให้จารึกตำรายาไว้บนแผ่นหินอ่อน ประดับไว้ตามผนังโบสถ์และศาลารายในบริเวณวัด มีตำราบอกสมุฏฐานของโรค และวิธีบำบัด ทรงให้นำสมุนไพรที่ใช้ในการปรุงยา
ที่หาได้ยากมาปลูกไว้ เพื่อให้ราษฎรได้ศึกษาและนำไปใช้ในการรักษาตน โดยมิหวงห้ามไว้ในตระกูลใด นับได้ว่าเป็น “มหาวิทยาลัยเปิด” แห่งแรกในประเทศไทยในปี พ.ศ. 2371 ซึ่งเป็นปีที่ 5 ในสมัยรัชกาลที่ 3 กล่าวได้ว่าเป็นปีแรกที่การแพทย์แผนตะวันตกเข้ามามีบทบาทสำคัญต่อการแพทย์และการสาธารณสุข โดยดำเนินการควบคู่กันไป กล่าวคือ ให้การรักษาพยาบาลผู้เจ็บป่วย
และทำการป้องกันโรคติดต่อที่ร้ายแรงไปด้วย ในรัชสมัยนี้ นายแพทย์แดน บีซ บรัดเลย์ (Dan Beach Bradley) ชาวบ้านเรียกว่า “หมดบลัดเล” นักเผยแพร่คริสตศาสนาชาวอเมริกันซึ่งมากับคณะมิชชั่นนารีได้เข้ามาเมืองไทยในปี พ.ศ. 2378 เป็นผู้ริเริ่มการป้องกันโรคติดต่อครั้งแรกในประเทศไทย มีการปลูกฝีป้องกันไข้ทรพิษซึ่งได้ผลดี จนกระทั่งในปี พ.ศ. 2381
ทรงโปรดให้หมอหลวงไปเรียนวิธีปลูกฝีจากหมอบรัดเลย์ เพื่อปลูกให้แก่ข้าราชการและประชาชนพ.ศ. 2387 เกียรติคุณของผู้เผยแพร่ศาสนา รวมทั้งชื่อเสียงที่หมอบรัดเลย์ทำไว้ แม้จะไม่ทำให้ใคร ๆ นิยมทั่วไป แต่ก็มีบางท่านเป็นผู้เห็นการณ์ไกล ใคร่จะเรียนภาษาและวิชาของฝรั่งเอาไว้ใช้ให้เป็นประโยชน์โดยเฉพาะกรมหลวงวงศาธิราชสนิท (ต้นตระกูลสนิทวงศ์) นี้
เป็นแพทย์ไทยคนแรกที่รับเอายาฝรั่งใช้รักษาโรค โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ยาควินนีนที่เรียกกันในครั้งนั้นว่ายาขาวฝรั่ง เอายาไทยหุ้มเสียก็เป็นยาแก้ไข้จับสั่นที่มีชื่อเสียงมากในปี พ.ศ. 2392 นายแพทย์ซามูเอล เรย์ โนลด์ เฮาส์ (samuel Reynolds House) เป็นหมอของคณะเผยแพร่ศาสนาอเมริกัน ชาวบ้านเรียกว่าหมอเฮาส์ ซึ่งนับว่าเป็นผู้ที่นำยาสลบอีเธอร์มาใช้เป็นครั้งแรกในประเทศไทย
1. พยาบาลวิชาชีพ 21 อัตรา เงินเดือน 15,960 บาท
2. นักเทคนิคการแพทย์ 2 อัตรา เงินเดือน 15,960 บาท
3. นักวิชาการสาธารณสุข 11 อัตรา เงินเดือน 15,960 บาท
4. เจ้าพนักงานเภสัชกรรม 3 อัตรา เงินเดือน 12,240 บาท
5. เจ้าพนักงานทันตสาธารณสุข 1 อัตรา เงินเดือน 12,240 บาท
6. เจ้าพนักงานสาธารณสุข 2 อัตรา เงินเดือน 12,240 บาท
7. เจ้าพนักงานสาธารณสุข เวชกิจ 1 อัตรา เงินเดือน 12,240 บาท
8. ผู้ช่วยทันตแพทย์ 1 อัตรา เงินเดือน 8,300 บาท
9. พนักงานช่วยการพยาบาล 1 อัตรา เงินเดือน 7,590 บาท
10. พนักงานช่วยเหลือคนไข้ 20 อัตรา เงินเดือน 7,590 บาท
11. พนักงานประจำห้องทดลอง 1 อัตรา เงินเดือน 7,590 บาท
12. พนักงานเปล 2 อัตรา เงินเดือน 7,590 บาท
13. นักวิชาการเงินและบัญชี 1 อัตรา เงินเดือน 13,300 บาท
14. นักวิชาการคอมพิวเตอร์ 1 อัตรา เงินเดือน 15,960 บาท
15.เจ้าพนักงานธุรการ 3 อัตรา เงินเดือน 10,200 บาท
16. เจ้าพนักงานพัสดุ 2 อัตรา เงินเดือน 10,200 บาท
17. เจ้าพนักงานการเงินและบัญชี 1 อัตรา เงินเดือน 10,200 บาท
18. พนักงานธุรการ 2 อัตรา เงินเดือน 8,300 บาท
19. พนักงานบริการ 15 อัตรา เงินเดือน 7,590 บาท
20. พนักงานประจำตึก 1 อัตรา เงินเดือน 7,590 บาท
21. พนักงานรับโทรศัพท์ 1 อัตรา เงินเดือน 7,590 บาท
(อ่านรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ประกาศรับสมัคร)
ประวัติสาธารณสุขไทยกรมพยาบาลสถาบันแรกซึ่งถือเป็นต้นกำเนิดของกระทรวงสาธารณสุขในปัจจุบัน ได้แก่ กรมพยาบาล สถาปนาขึ้นในรัชกาลที่ ๕ เมื่อวันที่ ๒๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๔๓๑ ดังกล่าวมาแล้ว โดยมีพระเจ้าน้องยาเธอ พระองค์เจ้าศรีเสาวภางค์ ดำรงตำแหน่งอธิบดีคนแรก สันนิษฐานกันว่ากรมพยาบาลในปีแรกคงจะขึ้นตรงต่อองค์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ในปีต่อมาหลังจากที่พระองค์เจ้าศรีเสาวภางค์ทรงประชวรสิ้นพระชนม์ กรมพยาบาลได้ย้ายไปขึ้นอยู่กับกระทรวงธรรมการ
ระหว่างที่กรมพยาบาลอยู่ในสังกัดกระทรวงธรรมการได้มีกิจการที่
ระหว่างที่กรมพยาบาลอยู่ในสังกัดกระทรวงธรรมการได้มีกิจการที่สำคัญคือ การจัดตั้งโรงเรียนผดุงครรภ์ขึ้นเมื่อ พ.ศ. ๒๔๓๙ โดยพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์ของสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ จัดตั้งหน่วยผลิตหนองฝีใช้เองในปี พ.ศ. ๒๔๔๘ ซึ่งต่อมาได้ย้ายไปรวมอยู่ในสถานเสาวภาเมื่อปี พ.ศ. ๒๔๖๔ นอกจากนี้ได้จัดให้มีการผลิตยาตำราหลวง และตั้งโอสถศาลาขึ้นเพื่อเป็นที่สะสมยาและเวชภัณฑ์ เพื่อใช้ในสถานพยาบาลและองค์การต่างๆ ของรัฐบาล กับให้ตั้งกองแพทย์ขึ้น
เพื่อให้มีหน้าที่ออกไปดำเนินการป้องกันโรคติดต่อแก่ประชาชนในชนบท และจัดให้มีแพทย์ประจำเมือง ซึ่งต่อไปได้พัฒนามาเป็นแพทย์สาธารณสุขจังหวัดในปัจจุบัน
กรมพยาบาลดำรงฐานะเป็นกรมอยู่จนถึง พ.ศ.๒๔๔๘ จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ยุบเลิกกรมพยาบาล โดยให้โรงพยาบาลในสังกัดกรมนี้ไปขึ้นอยู่กับกระทรวงนครบาล เว้นแต่ศิริราชพยาบาลคงให้เป็นสาขาของโรงเรียนราชแพทยาลัย และย้ายสังกัดไปขึ้นอยู่กับกรมศึกษาธิการ โดยตั้งเป็นแผนกพยาบาลขึ้นในกรมศึกษาธิการ ส่วนกองทำพันธุ์หนองฝี กองโอสถศาลารัฐบาล กองแพทย์ป้องกันโรค และแพทย์ประจำเมืองยังคงอยู่ในสังกัดกระทรวงธรรมการดังเดิม
ต่อมาในปี พ.ศ. ๒๔๕๑ กระทรวงมหาดไทยซึ่งมีหน้าที่เกี่ยวกับการปกครองหัวเมือง เพื่อบำบัดทุกข์บำรุงสุขแก่ประชาชนในชนบท ได้ขอโอนกองโอสถศาลารัฐบาล กองทำพันธุ์หนองฝี กอง
แพทย์และแพทย์ประจำเมืองจากกระทรวงธรรมการมาอยู่ในสังกัดกระทรวงมหาดไทย โดยให้ขึ้นอยู่กับกรมพลำภัง และในปีเดียวกันได้มีตราพระราชบัญญัติจัดการสุขาภิบาล และประกาศตั้งสุขาภิบาลขึ้นหลายแห่ง เช่น ที่จังหวัดนครราชสีมา จันทบุรี นครศรีธรรมราช ชลบุรี นครปฐมภายหลังจากที่ได้ทดลองให้มีสุขาภิบาลเป็นแห่งแรกที่ตำบลท่าฉลอม จังหวัดสมุทรสาคร ในปี พ.ศ. ๒๔๔๘ การควบคุมดูแลการสุขาภิบาลในชนบทนี้อยู่ในหน้าที่ของกรมพลำภังเช่นเดียวกัน
ต่อมาในปี พ.ศ. ๒๔๕๕ กระทรวงมหาดไทยมีโครงการขยายงานทางการสาธารณสุขอย่างกว้างขวางจึงขอพระบรมราชานุญาตตั้งกรมพยาบาลขึ้นใหม่ ในสังกัดกระทรวงมหาดไทย เพื่อรวมงานเกี่ยวกับการสาธารณสุข ซึ่งอยู่ในสังกัดกรมพลำภังเข้าด้วยกัน โดยแบ่งการบริหารงานของกรมพยาบาลออกเป็น ๖ แผนก คือ
งานที่ก้าวหน้าขึ้นในยุคนี้ ได้แก่ การจัดให้มีแพทย์ประจำทุกจังหวัด และจัดสร้างสถานีอนามัยในชนบท ซึ่งเดิมเรียกว่า “โอสถสภา” ต่อมาเปลี่ยนเป็น “สุขศาลา” และในปัจจุบันเรียกว่า “สถานีอนามัย” นอกจากนี้ ได้ขยายการปลูกฝีป้องกันไข้ทรพิษไปทั่วทุกจังหวัดและควบคุมการใช้ยาเสพติดให้โทษ
และกรมหมอหลวงคัดเลือกจดเป็นตำราหลวง สำหรับโรงพระโอสถ เพื่อประโยชน์ของประชาชน พ.ศ. 2359 มีพระราชโองการโปรดเกล้าให้ตรากฎหมาย ชื่อ กฎหมายพนักงานพระโอสถถวาย ซึ่งให้อำนาจพนักงานมีอำนาจออกไปค้นหาพระโอสถ คือ สมุนไพร ที่ปรากฎมีอยู่ในแผ่นดิน ผู้ใดจะคัดค้านมิได้ พนักงานพระโอสถจึงมีอำนาจในการค้นหายา และมักจะเป็นผู้ที่อยู่ในตระกูลสืบทอดกันมา
เท่านั้น พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้ทรงบูรณะปฏิสังขรณ์วัดราชโอรสาราม และได้จารึกตำราไว้ในแผ่นศิลา ตามเสาระเบียงพระวิหาร รวมทั้งทรงปฏิสังขรณ์วัดพระเชตุพนฯ อีกครั้ง โปรดเกล้าฯ ให้จารึกตำรายาไว้บนแผ่นหินอ่อน ประดับไว้ตามผนังโบสถ์และศาลารายในบริเวณวัด มีตำราบอกสมุฏฐานของโรค และวิธีบำบัด ทรงให้นำสมุนไพรที่ใช้ในการปรุงยา
ที่หาได้ยากมาปลูกไว้ เพื่อให้ราษฎรได้ศึกษาและนำไปใช้ในการรักษาตน โดยมิหวงห้ามไว้ในตระกูลใด นับได้ว่าเป็น “มหาวิทยาลัยเปิด” แห่งแรกในประเทศไทยในปี พ.ศ. 2371 ซึ่งเป็นปีที่ 5 ในสมัยรัชกาลที่ 3 กล่าวได้ว่าเป็นปีแรกที่การแพทย์แผนตะวันตกเข้ามามีบทบาทสำคัญต่อการแพทย์และการสาธารณสุข โดยดำเนินการควบคู่กันไป กล่าวคือ ให้การรักษาพยาบาลผู้เจ็บป่วย
และทำการป้องกันโรคติดต่อที่ร้ายแรงไปด้วย ในรัชสมัยนี้ นายแพทย์แดน บีซ บรัดเลย์ (Dan Beach Bradley) ชาวบ้านเรียกว่า “หมดบลัดเล” นักเผยแพร่คริสตศาสนาชาวอเมริกันซึ่งมากับคณะมิชชั่นนารีได้เข้ามาเมืองไทยในปี พ.ศ. 2378 เป็นผู้ริเริ่มการป้องกันโรคติดต่อครั้งแรกในประเทศไทย มีการปลูกฝีป้องกันไข้ทรพิษซึ่งได้ผลดี จนกระทั่งในปี พ.ศ. 2381
ทรงโปรดให้หมอหลวงไปเรียนวิธีปลูกฝีจากหมอบรัดเลย์ เพื่อปลูกให้แก่ข้าราชการและประชาชนพ.ศ. 2387 เกียรติคุณของผู้เผยแพร่ศาสนา รวมทั้งชื่อเสียงที่หมอบรัดเลย์ทำไว้ แม้จะไม่ทำให้ใคร ๆ นิยมทั่วไป แต่ก็มีบางท่านเป็นผู้เห็นการณ์ไกล ใคร่จะเรียนภาษาและวิชาของฝรั่งเอาไว้ใช้ให้เป็นประโยชน์โดยเฉพาะกรมหลวงวงศาธิราชสนิท (ต้นตระกูลสนิทวงศ์) นี้
เป็นแพทย์ไทยคนแรกที่รับเอายาฝรั่งใช้รักษาโรค โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ยาควินนีนที่เรียกกันในครั้งนั้นว่ายาขาวฝรั่ง เอายาไทยหุ้มเสียก็เป็นยาแก้ไข้จับสั่นที่มีชื่อเสียงมากในปี พ.ศ. 2392 นายแพทย์ซามูเอล เรย์ โนลด์ เฮาส์ (samuel Reynolds House) เป็นหมอของคณะเผยแพร่ศาสนาอเมริกัน ชาวบ้านเรียกว่าหมอเฮาส์ ซึ่งนับว่าเป็นผู้ที่นำยาสลบอีเธอร์มาใช้เป็นครั้งแรกในประเทศไทย