บ่อยครั้งที่เราคงเคยได้อ่า นสาเหตุของการเกิดไขมันเกาะ ตับหรือ Fatty liver ซึ่งเท่าที่เราทราบสาเหตุส่ วนใหญ่มักมาจากความอ้วนและก ารพฤติกรรมการบริโภคอาหารปร ะเภทแป้ง น้ำตาล ไขมันและเครื่องดื่มที่มีแอ ลกอฮอล์มากจนเกินไป วันนี้หมอหล่อจะขอเล่าในส่ว นของการรักษาที่สำคัญที่สุด ของไขมันเกาะตับให้ฟังนะครั บ ซึ่งก็คือ #การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม หรือ Life style modification นั่นเอง
>> ข้อมูลจากวารสาร Hepatology ของ The American Association Study for Liver Diseases (AASLD) ซึ่งออกมาในปี 2012 ได้รวบรวมข้อมูลจากหลายงานว ิจัยเกี่ยวกับการดูแลรักษาไ ขมันเกาะตับ ซึ่งข้อมูลที่น่าสนใจและมีป ระโยชน์ในการรักษา ได้แก่
(1) การลดน้ำหนัก โดยการควบคุมอาหารและออกกำล ังกาย ถือเป็นวิธีการรักษาที่ดีที ่สุดและได้ผลมากที่สุด (Strength – 1, Evidence - A)
(2) การลดน้ำหนักแม้เพียงลดแค่ 3-5 % ของน้ำหนักตั้งต้นก็สามารถล ดไขมันในตับได้ แต่ถ้าสามารถลดได้ถึง 10 % ยังพบว่าช่วยลดการอักเสบที่ เกิดขึ้นในตับได้อีกด้วย (Strength – 1, Evidence - B)
(3) การออกกำลังกายที่แนะนำยังค งเป็น ออก 2-3 ครั้ง/ สัปดาห์ ครั้งละ 30-60 นาที ระยะเวลาที่เห็นผลเริ่มตั้งแต่ 6-12 สัปดาห์
(4) ยา Metformin ที่เป็นยารักษาโรคเบาหวาน ไม่มีผลต่อเนื้อตับในการศึก ษาและไม่แนะนำให้เอามารักษา ไขมันเกาะตับ (ชนิด NASH) (Strength – 1, Evidence - A)
(5) การใช้ยาลดคอเลสเตอรอลในเลื อดโดยเฉพาะยากลุ่ม Statins ไม่เป็นข้อห้ามในการรักษาผู ้ป่วยที่มีไขมันในเลือดสูงท ี่มีไขมันเกาะตับร่วมด้วย (ทั้ง NAFLD and NASH) ขาดหลักฐานที่บอกว่ากินยาแล ้วค่าตับขึ้น (Strength – 1, Quality – B) และไม่แนะนำให้ใช้รักษาไขมั นเกาะตับด้วยจนกว่าจะมีหลัก ฐานวิจัยชัดเจนมากขึ้น (Strength – 1, Quality – B)
(6) วิตามิน E (α-tocopherol) ขนาด 800 IU/ วัน พบว่าทำให้ไขมันเกาะตับดัขึ้นใน คนที่ไม่ได้เป็นเบาหวาน จึงเป็นวิตามินตัวเดียวที่ม ีบทบาทในการรักษาตอนนี้ (Strength -1, Quality - B) แต่ในผู้ป่วยเบาหวานยังไม่แ นะนำให้ใช้ (Strength - 1, Quality - C)
**เป็นที่น่าสังเกตว่า คนที่เค้าแนะนำให้ใช้ จะต้องมีผลการตรวจเนื้อเยื่ อตับแล้ว ซึ่งไม่นิยมทำในบ้านเรา**
(7) น้ำมันปลา (Fish oil) หรือ omega-3 fatty acids ก็ยังไม่เห็นผลชัดเจนมากในก ารรักษาไขมันเกาะตับ แต่ในคนที่มีไตรกลีเซอไรด์ใ นเลือดสูงและมีไขมันเกาะตับ แนะนำให้รักษาได้
(Strength – 1, Quality – B)
(8) ไม่ควรดื่มเครื่องดื่มที่มี แอลกอฮอล์ ยังคงเป็นอะไรมี่ต้องทำควบค ู่เสมอนะครับ (Strength -1, Quality – B)
>> ข้อมูลจากวารสาร Hepatology ของ The American Association Study for Liver Diseases (AASLD) ซึ่งออกมาในปี 2012 ได้รวบรวมข้อมูลจากหลายงานว
(1) การลดน้ำหนัก โดยการควบคุมอาหารและออกกำล
(2) การลดน้ำหนักแม้เพียงลดแค่ 3-5 % ของน้ำหนักตั้งต้นก็สามารถล
(3) การออกกำลังกายที่แนะนำยังค
(4) ยา Metformin ที่เป็นยารักษาโรคเบาหวาน ไม่มีผลต่อเนื้อตับในการศึก
(5) การใช้ยาลดคอเลสเตอรอลในเลื
(6) วิตามิน E (α-tocopherol) ขนาด 800 IU/
**เป็นที่น่าสังเกตว่า คนที่เค้าแนะนำให้ใช้ จะต้องมีผลการตรวจเนื้อเยื่
(7) น้ำมันปลา (Fish oil) หรือ omega-3 fatty acids ก็ยังไม่เห็นผลชัดเจนมากในก
(Strength – 1, Quality – B)
(8) ไม่ควรดื่มเครื่องดื่มที่มี
ที่มาก : หมอหล่อคอเล่า